Posts

Showing posts from December, 2012

Programmer เป็นอาชีพที่ดี จริงหรือ??

ผมได้ไปอ่านข้อความตามเว็บบอร์ด เว็บบล็อกต่างๆ เกี่ยวกับการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับอาชีพโปรแกรมเมอร์ ทั้งในด้านดีและด้านไม่ดี ก็เลยอยากจะขอแนะนำกันซะหน่อย เริ่มที่ ข้อดี กันก่อน อย่างที่รู้ๆกันว่า Programmer เป็นอาชีพที่รายได้ดีทีเดียว เมื่อเทียบกับอาชีพมนุษย์เงินเดือนอื่น ความรู้ที่ใช้ในการทำงานของโปรแกรมเมอร์ เป็นวิชาติดตัว ทำให้สามารถรับจ๊อบเสริมได้ (ถ้างานหลักไม่หนักจนเกินไป) นอกจากจะรับจ๊อบนอกได้แล้ว ยังสามารถขยายความรู้ให้กว้างขวางได้ด้วยตนเอง หรือจะนั่งทำแอพฯขำๆของตัวเองก็ได้ ความรู้ด้านอื่นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น ลงโปรแกรม ลงวินโดวส์ วิธีเลือกซื้อเลือกใช้เครื่องคอมฯ การแก้ปัญหาเบื้องต้น เรื่องเหล่านี้เป็นสิ่งที่บุคคลอื่นมักจะเข้าใจว่าเราทำได้ และเราก็ "ต้องทำได้" มาถึง ข้อเสีย กันบ้าง Programmer ชื่อฟังดูสวยหรู แต่คุณจงรู้ไว้เลยว่า มันเป็นอาชีพที่อยู่ล่างสุดของสายเทคโนโลยี ถ้าชอบเล่นเกมส์ แล้วบอกกับพ่อแม่ว่าอยากเรียนสายนี้ เตรียมใจไว้ได้เลย เพราะต้องเจออะไรที่หนักเหมือนกัน และถ้าเกาะเพื่อนจนเรียนรอดมาได้ มันก็ไม่น่าภูมิใจนักหรอก เมื่อคุณเริ่

กว่าจะได้เป็น "Programmer"

Image
วันนี้ผมอยากจะเล่าเรื่องราวตั้งแต่วัยเด็ก จนกระทั่งได้เป็น Programmer เอาไว้ให้ผ่านเล่นๆกันนะครับ (เผื่อน้องๆ ที่มีความใฝ่ฝันด้านนี้ หรือกำลังจะมี.. ได้อ่าน ได้รู้ถึงประสบการณ์จริงๆ ของผมนะครับ ^^) วัยมัธยมต้น ม.ต้นเป็นอะไรที่เนื้อหาการเรียนเริ่มยาก ต้องเตรียมสำหรับเข้าม.4 ว่าเราจะเรียนสายไหนดี โรงเรียนผมมีแค่ วิทย์-คณิต, ศิลป์-คำนวณ, ศิลป์-ภาษา แต่ตอนนั้นเราก็เรียนๆไป ไม่สนว่าต้องเรียนสายอะไร ช่วงนั้นเริ่มเล่นเกมส์ออนไลน์ ยุคนั้นก็ Ragnarok มาใหม่ๆ เป็นเกมส์ตีมอนสเตอร์เก็บเลเวล ก็เล่นกับเพื่อนสนุกดี แต่ผมเป็นคนไม่ชอบเกมส์แนวนี้เท่าไร level เกือบ 30 ก็เลิกเล่นไป วัยมัธยมปลาย ตอนแรกตัดสินใจเลือกเรียนศิลป์-คำนวณ เพราะผมชอบคณิตศาสตร์และไม่ชอบวิทยาศาสตร์เลย แต่แม่ไม่ยอม สุดท้ายได้เรียนสายวิทย์-คณิต เพราะไม่ว่าไม่ชอบภาษายิ่งกว่า (อย่างน้อยวิทย์ มันก็ยังมีคำนวณคล้ายๆ คณิตบ้างในบางเนื้อหา) ช่วงนั้นจัดเต็มทุกสิ่งอย่างทั้งเรื่องเรียน (ไม่งั้นสอบตก) เรื่องเล่น (DOTA เริ่มเข้ามาแล้ว)  ม.ปลาย ผมเริ่มมีความรู้เกี่ยวกับ computer มากขึ้น ลงโปรแกรมเป็น พิมพ์งานได้แต่ช้า ทำ slide (pow

root กับ jailbreak แค่เรียกให้ต่างกัน แค่นั้นหรือ??

Image
ไม่ว่าจะเป็น root หรือ jailbreak เป้าหมายล้วนเป็นความต้องการอยู่เหนือสิทธิ์ที่จำกัดของโทรศัพท์ เพื่อพยายามทำอะไรที่มากกว่าเดิม เช่น ใช้งานแอพฯที่ไปยุ่งกับการตั้งค่าขั้นสูงใน Android หรือการลงแอพฯโดยไม่ได้ผ่าน iTunes ใน iOS แต่ก็มีเรื่องเข้าใจผิดว่า เราซื้อ Android มาก็ต้อง root นะ หรือเราซื้อ iPhone มาก็ต้อง jailbreak ไม่งั้นจะลงแอพฯไม่ได้ เล่นแอพฯได้น้อย อะไรทำนองนี้ ซึ่งแน่นอนว่ามันเป็นความเชื่อผิดๆ เราไม่ทำก็หมายความว่าเราเป็นผู้ใช้งานปกติที่บริษัทฯเหล่านั้นอยากให้เป็นที่สุด ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจก่อนว่า Android กับ iOS เป็นระบบปฏิบัติการจากคนละบริษัทฯ ทำให้มีข้อจำกัดที่แตกต่างกัน Android เป็นของฟรีที่พัฒนาโดย Google เปิดให้ผู้ผลิตหลากหลายค่ายนำไปทำให้เข้ากับผลิตภัณฑ์ของแต่ละค่าย เช่น Sony, Samsung, LG, HTC, Motolora และอื่นๆ  iOS เป็นระบบปฏิบัติการของ Apple ซึ่งพัฒนาออกมาเพื่อใช้กับผลิตภัณฑ์ของตัวเองคือ iPhone  มาที่เรื่องของ root กับ jailbreak root เป็นคำที่ใช้ใน Android หลังจาก root แล้วเครื่องนั้นๆ ก็จะได้สิทธิ์ superuser ซึ่งสามารถเข้าถึงทุกสิ่งอย่างมา เพื่

Facebook Comment

Recent Posts

Popular post of 7 days

Portal คืออะไรกันนะ???

มาตรฐานการตั้งชื่อตัวแปร (Naming Convention)

[Java] ความแตกต่างระหว่าง Overloading กับ Overriding

Popular

[Java] Java 8 DateTime ใหม่ ไฉไลกว่าเดิม

Portal คืออะไรกันนะ???

มาตรฐานการตั้งชื่อตัวแปร (Naming Convention)

[Java] ความแตกต่างระหว่าง Overloading กับ Overriding

เรื่องของ ++i กับ i++

ลืมรหัสปลดล็อค Android เข้าเครื่องไม่ได้ มีทางออกครับ

[Java] Java Static Variable และ Static Method

Push Notification คืออะไร มีวิธีทำอย่างไร (No Code)

พิมพ์ซองจากรายชื่อ excel ด้วยวิธี Mail Merge

[Android] เปิดเครื่องไม่ได้ โลโก้ค้าง (Boot Loop)